วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

แนะนำตัว

DTS02-27/06/52

สรุปเรื่อง Array and Recor

ตัวแปรอาเรย์สามารถเก็บข้อมูลหลายๆข้อมูลไว้ได้โดยไม่ต้องใช้ตัวแปรหลายตัว เช่นถ้าต้องการเก็บอายุของเพื่อนทั้ง 20 คน ถ้าเราใช้ตัวแปรแบบ int เราจะต้องประกาศตัวแปร age1, age2, age3,.....,age20 ให้เป็นแบบ int ซึ่งเป็นการประกาศตัวแปรถึง 20 ตัวด้วยกัน แต่ถ้าใช้อาเรย์เราประกาศตัวแปร age ให้เป็นอาเรย์แบบ int เพียงตัวเดียวก็สามารถเก็บค่าทั้ง 20 ค่าได้แล้ว


อาร์เรย์ เป็นแบบหนึ่งของโครงสร้างที่เรียกว่า Linear List ซึ่งมีจำนวนรายการ ( Element) จำกัด และข้อมูลที่เก็บอยู่ในอาร์เรย์แต่ละช่องจะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน อยู่ภายใต้ตัวแปรชื่อเดียวกัน โดยขนาดของแต่ละช่องต้องเท่ากันหมด การอ้างถึงข้อมูลในแต่ละช่องของของอาร์เรย์ ต้องอาศัยตัวห้อย Subscript เช่น กำหนดให้ Array A มีขนาด 100 รายการ A[5] จะหมายถึง ค่าของอาร์เรย์ตำแหน่งที่ 5 ในอาร์เรย์นั้น ซึ่ง Subscript ก็คือ เลข 5 จำนวน Subscript ที่ต้องการใช้เวลาเรียกใช้ค่าใน Array เรียกว่า มิติ ไดเมนชั่น ( Dimention) ของ Array นั้น

อะเรย์ 1 มิติ


รูปแบบ
data-type array-name[expression]
data-type คือ ประเภทของข้อมูล เช่น int char float
array-name คือ ชื่อของอะเรย์
expression คือ นิพจน์จำนวนเต็มซึ่งระบุจำนวนสมาชิกของอะเรย์

Initialization คือ การกำหนดาเริ่มต้นให้กับอะเรย์
การกำหนดค่าให้กับตัวแปรชุดที่มีค่าเป็นตัวเลข
รูปแบบ
data-type array-name[n]={value1,value2,...,value n};
ตัวอย่าง int num[5]={1,2,3,4,5}; หรือ int num[]={1,2,3,4,5};



การกำหนดค่าให้กับตัวแปรชุดชนิด Character
รูปแบบ
char array-name[n]="string";
ตัวอย่าง char ch[9]="SAWASDEE"



การส่งอะเรย์ให้ฟังก์ชัน
มี 2 ลักษณะคือ
1. การกำหนด array element เป็นพารามิเตอร์ส่งค่าให้กับฟังก์ชัน ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุ subscript
2. ส่งอะเรย์ทั้งชุดให้ฟังก์ชัน ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มี subscript


**การส่งผ่านอะเรย์ให้กับฟังก์ชันเป็นส่งผ่านโดยการอ้างอิงเรียกว่า Pass by reference


อะเรย์ 2 มิติ


รูปแบบ
type array-name[n][m];

type หมายถึง ชนิดของตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นอะเรย์
array-name หมายถึง ชื่อของตัวอปรที่ต้องการประกาศ
n หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของแถว
m หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของคอลัมน์


อาเรย์ 2 มิติจะเก็บข้อมูลไว้ในลักษณะของตาราง การสร้างอาเรย์ 2 มิตินั้นเราจะเขียนโค้ดภาษาซีดังนี้



int a[3][3];
int b[2][3];


การนำค่าที่ต้องการเก็บในอาเรย์เราจะต้องอ้างถึงลำดับของสมาชิกช่องนั้นๆ ทั้งลำดับในแนวนอนและลำดับในแนวตั้ง หรือจะมองในลักษณะของคู่ลำดับก็ได้ดังรูปต่อไปนี้
int a[3][3];
a[0][0] a[1][0] a[2][0]
a[0][1] a[1][1] a[2][1]
a[0][2] a[1][2] a[2][2]




จะเห็นว่าหมายเลขลำดับของอาเรย์ในแต่ละแนวเริ่มต้นจาก 0 จนถึง “ขนาดในแนวนั้นลบด้วย 1” เช่น ถ้าประกาศอาเรย์ 2 มิติขนาด 3x3 ลำดับในแนวนอนก็จะเริ่มจาก 0 ถึง 2 รวมทั้งหมด 3 ช่อง และในแนวตั้งก็จะเริ่มจาก 0 ถึง 2 รวมทั้งหมด 3 ช่องเช่นกันสำหรับวิธีการนำเอาข้อมูลใส่ลงในตัวแปรอาเรย์ 2 มิตินี้ก็จะใช้หลักการเดียวกันกับอาเรย์ 1 มิติ โดยระบุช่องที่ต้องการใส่ค่าลงไป เช่นถ้าจะใส่ค่า 10 ลงในช่อง a[1][2] เราจะเขียนโปรแกรมดังนี้



int a[3][3];
a[1][2] = 10;

int a[3][3];
a[0][0] a[1][0] a[2][0]
a[0][1] a[1][1] a[2][1]
a[0][2] 10 a[2][2]




การอ้างอิงสมาชิกของอาเรย์ 2 มิติ จะใช้การระบุเลขลำดับสองตัวเรียงกัน คือ [x][y] โดย x เป็นเลขที่บอกว่าอยู่ช่องที่เท่าไหร่ในแนวนอนและ y บอกว่าอยู่ช่องที่เท่าไหร่ในแนวตั้ง





การบ้าน

struct personal/Details
{
char name[30];
char Lastname
char nickname[10];
char address;
char sex;
int brithday;
int year;
int high;
int weight;
int telephone[10];
};
struct personal/Details1=

{"sarunya","pinta","oil",,"259 Moo.7 . Tumbol.danchai Umpor.danchai phare" ,1"female"
"19/08/1988","155cm"," 45","0837185714"}

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552

รูป

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ :ศรัญญา ปินตา รหัส 50152792021
Name : sarunya pinta
ชื่อเล่น :ออย
วัน/เดือน/ปีเกิด : 19 มีนาคม 2531อายุ : 20 ปี
ที่อยู่ปัจจุบัน : 80/203ถนนบานา-ตราด แขวงดอกไม้ เขตประเวศ 12500
การศึกษาปัจจุบัน : มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
หลักสูตร : การบริหารธุรกิจ ( คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ) คณะวิทยาการจัดการ
งานอดิเรก : เล่นคอมพิวเตอร์
คติประจำใจ : อย่ากลัวที่จะลงมือทำ!